The inertia tensor ของ โมเมนต์ความเฉื่อย

เมทริกซ์ของความเฉื่อยสามารถอธิบายได้โดยใช้เทนเซอร์ของความเฉื่อย ซึ่งจะประกอบด้วยโมเมนต์ความเฉื่อยในระบบพิกัด 3 แกน สามารถคำนวณผลลัพธ์ในเวลาเดียวกันได้ เมทริกซ์ของความเฉื่อยถูกสร้างจากเทนเซอร์ซึ่งมี 9 องค์ประกอบ เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณเราจะเขียนในรูปของเมทริกซ์เทนเซอร์ดีกรีสองหรือที่เราเรียกว่า เมทริกซ์ สำหรับ the inertia tensor แล้วเขียนในรูปเมทริกซ์ได้เป็น

[ I ] = [ I 11 I 12 I 13 I 21 I 22 I 23 I 31 I 32 I 33 ] = [ I x x I x y I x z I y x I y y I y z I z x I z y I z z ] . {\displaystyle [I]={\begin{bmatrix}I_{11}&I_{12}&I_{13}\\I_{21}&I_{22}&I_{23}\\I_{31}&I_{32}&I_{33}\end{bmatrix}}={\begin{bmatrix}I_{xx}&I_{xy}&I_{xz}\\I_{yx}&I_{yy}&I_{yz}\\I_{zx}&I_{zy}&I_{zz}\end{bmatrix}}.}

เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ไม่ยากนัก เพราะวัตถุแข็งเกร็งในทางกลศาสตร์จะถูกกำหนดอย่างชัดเจนด้วยพิกัด x y z เช่น Ixx and Ixy ในรูปขององค์ประกอบ inertia tensor


ใกล้เคียง

โมเมนตัม โมเมนต์ความเฉื่อย โมเมนต์ โมเมนตัมเชิงมุม โมเมนส์ (เพลงอายูมิ ฮามาซากิ) โมเมนต์ออฟกลอรี โมเมนต์แผ่นดินไหว โมเมนต์แมกนิจูด โมเมนตัมเชิงมุมของออร์บิทัล โมเฮนโจ-ดาโร